โปรดอัพเดตเบราว์เซอร์

เบราว์เซอร์ที่คุณใช้เป็นเวอร์ชันเก่าซึ่งไม่สามารถใช้บริการของเราได้ เราขอแนะนำให้อัพเดตเบราว์เซอร์เพื่อการใช้งานที่ดีที่สุด

ไลฟ์สไตล์

มาดูศิลปะบนจานเพาะเชื้อ ใครจะเชื่อว่านี่คือ “แบคทีเรีย”

LINE TODAY

เผยแพร่ 08 พ.ย. 2560 เวลา 09.27 น.

ภาพในหัวของทุกคนเกี่ยวกับแบคทีเรียน่าจะเป็นอะไรที่สกปรก ดำ ๆ ยุกยิกไปมา ดูแล้วน่าขยะแขยง แต่จริง ๆ แล้วไม่มีใครเห็นภาพแบคทีเรียหรือบัคเตรีด้วยตาเปล่าได้ เนื่องจากแบคทีเรียเป็นสัตว์เซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กมาก ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์จึงจะมองเห็นรูปร่างที่กลมบ้าง เป็นแท่งบ้าง หรือเกลียวบ้าง แล้วแต่ชนิดของแบคทีเรีย

ตามปกติสีธรรมชาติของแบคทีเรียจะมีแค่สีเขียว เหลือง ส้ม หรือน้ำตาล แต่เมื่ออยู่ในอุณหภูมิที่ต่างกัน ได้รับอาหารที่ต่างกัน ก็ทำให้การเติบโตโดยมีรูปแบบเฉพาะตัว และเกิดเป็นสีสันใหม่ ๆ ที่แตกต่างกันด้วย และหากไปรวมตัวกับเชื้อโรคอื่น ๆ เช่น เชื้อรา ก็จะมีสีและรูปแบบที่แตกต่างกันไป ตรงนี้เองที่เป็นหลักพื้นฐานให้บรรดานักชีววิทยาเพาะเชื้อแบคทีเรียให้กลายเป็นผลงานศิลปะชั้นเยี่ยม

ศิลปะในจานเพาะเชื้อแบบนี้ เรียกว่า Microbial Art เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อกว่า 100 ปีที่แล้ว โดยเซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง แพทย์และนักชีววิทยาชาวสก็อตแลนด์ ผู้คิดค้นยาเพนนิซิลินขึ้นเป็นคนแรกจากความผิดพลาดของกระบวนการทดลองทำให้มีเชื้อราสีเทาเขียวอยู่บนจานเพาะเชื้อ กลายเป็นว่าเชื้อราชนิดนี้สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียของโรคอื่นได้ จึงสกัดเป็นยาชื่อว่า “เพนนิซิลิน” ซึ่งปัจจุบันสามารถรักษาโรคต่าง ๆ ได้มากกว่า 80 โรค เช่น ปอดอักเสบ บาดทะยัก ฯลฯ

นอกจากความผิดพลาดของกระบวนการทดลองครั้งนั้นจะทำให้เกิดยารักษาโรคอย่างเพนนิซิลินแล้ว ยังสร้างภาพจิตรกรรมบนจานเพาะเชื้อให้คนทั่วไปได้เห็นมุมมองใหม่ ๆ ของแบคทีเรียในแบบที่นึกไม่ถึงมาก่อนอีกด้วย จริง ๆ แล้วภาพในหัวกับของจริงนั้นแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง มาดูความสวยงามของแบคทีเรียเหล่านี้กันดีกว่า บางอันก็สวยชนิดที่ว่าไม่อยากจะเชื่อว่านี่คือ “แบคทีเรีย”

#tbt from last year ❄️💙 one is naturally grown, the other is printed and grown ⚗️🎨 #bacteria #art

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Oct 19, 2017 at 1:51pm PDT

💧⚗️🔬

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Oct 18, 2017 at 11:20am PDT

#Microbialart by Dr. Eshel Ben-Jacob. This is an image of a Petri-dish culture of Paenibacillus dendritiformis, a bacterium that has engineered these complex chiral structures through self-organisation survival strategies.

A post shared by EvidenceBased FermentActivist (@dr.chans) on Jun 13, 2017 at 8:22pm PDT

Filigran- diese wunderschön gewachsene Kolonie bildet das Bakterium Paenibacillus. Es hat eine wichtige Aufgabe: es kann Stickstoff fixieren und ihn dadurch wieder in den Kreislauf der Natur einbringen. Deshalb lebt es auch gern in der Wurzelregion - Rhizosphäre - von Pflanzen zB. Mais 🌽. Ich wünsch euch eine gute Woche 🌞🌻! #mikrobenzirkus #mikrobensindfreunde #bakterien #mikrobiologie #paenibacillus #stickstofffixierung #stickstoff #bacterialart #microbialart #kolonie #postoftheday #mikrobiologieiscool #biologie #instagood #artenvielfalt

A post shared by Mikrobenzirkus 🌿Susanne Thiele (@susanne_thiele) on Sep 10, 2017 at 8:54pm PDT

Mit dieser "Wave of Candida" wünsche ich euch ein schönes Wochenende. 🌞Diese perfekte Welle 🌊 hat ein Hefepilz gezeichnet. Microbial Art von Christina Marcos) #mikrobenzirkus #microbialart #hefe #yeast #agarart #mikrobensindfreunde #artwork #biologicalart #pilz #candida #mikrobiologie #postoftheday #instagood #picoftheday

A post shared by Mikrobenzirkus 🌿Susanne Thiele (@susanne_thiele) on Aug 25, 2017 at 11:00pm PDT

Today's marbles 🔮⚗️

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Oct 4, 2017 at 12:59pm PDT

Evolution

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Aug 9, 2017 at 5:02pm PDT

The lubber grasshopper, found throughout the southern United States, is frequently used in biology classes to teach students about the respiratory system of insects. Unlike mammals, which have red blood cells that carry oxygen throughout the body, insects have breathing tubes that carry air through their exoskeleton directly to where it's needed. This image shows the breathing tubes embedded in the weblike sheath cells that cover developing egg chambers. ··························· Follow @biologyoftheuniverse for more #science #education #biology #biologymajor #biologylovers #evolution #nerves #biologyaddicts #bacteria #cellularbiology #dna #rna #microscopicworld #viruses #fungi #cell #cells #insects #plantsworld #BiologyOfTheUniverse #ScienceOfTheUniverse Image Credit: Kevin Edwards, Johny Shajahan and Doug Whitman, Illinois State University

A post shared by Biology of the Universe (@biologyoftheuniverse) on Nov 6, 2017 at 8:16am PST

#iphonex details of #bacteria

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Nov 7, 2017 at 9:19am PST

Forget paint – bacteria can bring art to life (literally) How artists and scientists are working together to challenge our views of microbial life #microbiologist #microbiology #art #artofscience #art #artwork #artists #scientists #microbiallife #microbialart #petri #petridish

A post shared by 👣 Biology Lifestyle 🐾 (@microlaboratory) on Jun 28, 2015 at 3:34am PDT

My GFP babies. #bacteria day all day errr day at the danino lab

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Aug 7, 2017 at 12:50pm PDT

Same thing 👯‍♂️

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Jun 28, 2017 at 4:24pm PDT

This ones a little throwback ❤️🌎🔬😊

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Jun 29, 2017 at 2:10pm PDT

10pm star gazing with the plate illuminator at the lab. Woo-sah na-na. 🔬🎨❤

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Feb 27, 2017 at 7:05pm PST

Rainbow all day everyday ⚗️🌈❤

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Jan 23, 2017 at 1:47pm PST

Mermaid lands 🐠🐟🌱

A post shared by Soonhee Kamiyama-Moon (@soonhee_moon) on Aug 1, 2016 at 12:26pm PDT

0 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0