โปรดอัพเดตเบราว์เซอร์

เบราว์เซอร์ที่คุณใช้เป็นเวอร์ชันเก่าซึ่งไม่สามารถใช้บริการของเราได้ เราขอแนะนำให้อัพเดตเบราว์เซอร์เพื่อการใช้งานที่ดีที่สุด

ธุรกิจ-เศรษฐกิจ

ถอดบทเรียนเขตเศรษฐกิจพิเศษ

กรุงเทพธุรกิจ

เผยแพร่ 17 ก.ค. 2562 เวลา 10.00 น.

สามารถใช้เพื่อดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) การจ้างงาน การกระตุ้นการส่งออก ซึ่งเหล่านี้เป็นเหมือนตัวชี้วัดความสำเร็จของ SEZs อย่างไรก็ตาม หากเปรียบเทียบการเติบโตของ SEZs กับเศรษฐกิจของประเทศก็จะพบว่ามีความไม่สอดคล้องกัน

โดยการศึกษาของธนาคารโลก (World Bank) สำรวจกลุ่มตัวอย่างจาก SEZs จำนวน 346 แห่งในภูมิภาคกำลังพัฒนา ระหว่างปี 2550-2555 พบว่า อัตราเติบโตของ SEZs เฉลี่ยที่ 14.7% แต่เมื่อแยกความต่างที่มีอยู่สูงมากออกไป ก็จะพบว่าอัตราเติบโตของ SEZs จะอยู่ที่ 2-5% ซึ่งต่ำกว่าการเติบโตจีดีพีประเทศ

ทั้งนี้ ผลศึกษาระบุอีกว่า บางประเทศเช่น เวียดนาม รัสเซีย ที่ SEZs เติบโตสูงและมีอัตราโตกว่าอัตราโตของประเทศโดยรวม แต่ความแตกต่างก็ไม่เคยมากกว่า 5 %

แม้โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) จะมีวัตถุประสงค์ที่หลากหลายมากกว่า SEZs ทั่วไปแต่ก็น่าจับตาว่าไม่ใช่เขตเศรษฐกิจพิเศษทุกแห่งที่จะประสบความสำเร็จ

0 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0
reaction icon 0